- นายรัชพล ปิยะมาน ม.4/3 เลขที่ 1
- นายกานต์ ปุงคานนท์ ม.4/3 เลขที่ 3
- นายเกษมสันต์ ลือรุ่งรัตน์วุฒิ ม.4/3 เลขที่ 4
- นายดนุพงษ์ ป้องทัพไทย ม.4/3 เลขที่ 9
- นายภาสวิชญ์ มิ่งวงศ์ ม.4/3 เลขที่ 13
วันอังคารที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2559
สมาชิกกลุ่ม
ภาระงาน
ข้อมูลประเทศบรูไน ดารุสซาลาม
1. ข้อมูลทั่วไป กานต์ ปุงคานนท์ เลขที่ 3
2. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ กานต์ ปุงคานนท์ เลขที่ 3
3. ประวัติศาสตร์ กานต์ ปุงคานนท์ เลขที่ 3
4. ลักษณะประชากร รัชพล ปิยะมาน เลขที่ 1
5. ข้อมูลเศรษฐกิจ รัชพล ปิยะมาน เลขที่ 1
6. ข้อมูลการเมืองการปกครอง รัชพล ปิยะมาน เลขที่ 1
7. ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม ภาสวิชญ์ มิ่งวงศ์ เลขที่ 13
8. โครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค ภาสวิชญ์ มิ่งวงศ์ เลขที่ 13
9. ระบบสาธารณสุข ดนุพงษ์ ป้องทัพไทย เลขที่ 9
10. ระบบการศึกษา ดนุพงษ์ ป้องทัพไทย เลขที่ 9
11. ระบบกฎหมาย เกษมสันต์ ลือรุ่งรัตน์วุฒิ เลขที่ 4
12. ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับประเทศบรูไน ดารุสซาลาม เกษมสันต์ ลือรุ่งรัตน์วุฒิ เลขที่ 4
ข้อมูลทั่วไป ประเทศบรูไน
ชื่อทางการ เนการาบรูไนดารุสซาลาม (Negara Brunei Darussalam) หรือ บรูไน (Brunei)
ที่ตั้ง : ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว
- พื้นที่
5,770 ตารางกิโลเมตร (พื้นดิน 5,270 ตารางกิโลเมตร พื้นน้ำ 500 ตารางกิโลเมตร)
- อาณาเขต
พรมแดนติดมาเลเซีย 381 กิโลเมตร ความยาวชายฝั่งทะเล 161 กิโลเมตร
- สภาพภูมิประเทศ
ที่ราบชายฝั่งค่อยๆ ชันขึ้นเป็นภูเขาทางฝั่งตะวันออก ทางทิศตะวันตกเป็นภูเขาต่ำๆ
- สภาพภูมิอากาศ
อากาศโดยทั่วไปค่อนข้างร้อนชื้น มีปริมาณฝนตกค่อนข้างมาก อุณหภูมิเฉลี่ย 28 องศาเซลเซียส
- ทรัพยากรธรรมชาติ
ปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ ไม้ซุง
- ภัยธรรมชาติ
พายุไต้ฝุ่น แผ่นดินไหว และบางครั้งจะเกิดน้ำท่วมอย่างรุนแรง
- จำนวนประชากร
422,675 คน (ค่าประมาณ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2557)
- อัตราการเติบโตของประชากร
1.65 % (ค่าประมาณ พ.ศ. 2557)
- สัญชาติ
บรูไน (Bruneian (s))
- เชื้อชาติ
มาเลย์ 65.7% จีน 10.3% ชนเผ่าพื้นเมือง 3.4% อื่นๆ 20.6% (พ.ศ. 2554)
- ศาสนา
ศาสนาประจำชาติคือ อิสลาม 78.8% พุทธ 7.8% คริสต์ 8.7% อื่นๆ (ความเชื่อของคนพื้นเมือง) 4.7% (พ.ศ. 2554)
- ภาษา
ภาษาราชการคือ ภาษามาเลย์ ภาษาอื่นๆ ได้แก่ อังกฤษและภาษาจีน
ลักษณะทางภูมิศาสตร์
ลักษณะทางภูมิศาสตร์
ขนาดพื้นที่และอาณาเขตติดต่อ
- ทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว ในทะเลจีนใต้
- ทางทิศเหนือและตะวันตก เฉียงเหนือติดทะเลจีนใต้
ขนาดพื้นที่และอาณาเขตติดต่อ
- ทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว ในทะเลจีนใต้
- ทางทิศเหนือและตะวันตก เฉียงเหนือติดทะเลจีนใต้
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
บรูไนมีประวัติความเป็นมายาวนานตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 7 มีหลักฐาน ปัจจุบันเป็นอาณาจักรโปนิในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึงคริสต์ ศตวรรษที่ 16 โดยบรูไนเป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญบนเกาะบอร์เนียว อยู่บนเส้นทางการค้าจากประเทศจีนผ่านโมลุกกะหรือหมู่เกาะเครื่องเทศ ไปสู่ประเทศตะวันตก สินค้าส่งออกที่สำคัญในสมัยนั้น ได้แก่การบูร พริกไทย และทองคำ
หลังจากนั้นบรูไนเสียดินแดนและเสื่อมอำนาจลง เนื่องจากสเปนและ ฮอลันดาได้แผ่อำนาจเข้ามา บรูไนได้ยินยอม เป็นรัฐในอารักขาของประเทศอังกฤษและลงนามในสนธิสัญญายินยอมเป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษอย่างเต็ม รูปแบบในปีพ.ศ. 2472
บรูไนมีประวัติความเป็นมายาวนานตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 7 มีหลักฐาน ปัจจุบันเป็นอาณาจักรโปนิในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึงคริสต์ ศตวรรษที่ 16 โดยบรูไนเป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญบนเกาะบอร์เนียว อยู่บนเส้นทางการค้าจากประเทศจีนผ่านโมลุกกะหรือหมู่เกาะเครื่องเทศ ไปสู่ประเทศตะวันตก สินค้าส่งออกที่สำคัญในสมัยนั้น ได้แก่การบูร พริกไทย และทองคำ
หลังจากนั้นบรูไนเสียดินแดนและเสื่อมอำนาจลง เนื่องจากสเปนและ ฮอลันดาได้แผ่อำนาจเข้ามา บรูไนได้ยินยอม เป็นรัฐในอารักขาของประเทศอังกฤษและลงนามในสนธิสัญญายินยอมเป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษอย่างเต็ม รูปแบบในปีพ.ศ. 2472
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ของบรูไนเริ่มจากการสำรวจแหล่งนำ้มันและ
ก๊าซธรรมชาติในปีพ.ศ.2472 ทรัพยากรธรรมชาตินี้ได้เปลี่ยนเศรษฐกิจ
ของประเทศจากการค้าพริกไทยและการบูรมาเป็นประเทศผู้ค้าน้ำมัน
ปิโตรเลียม แม้จะประสบปัญหาการค้าในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่
เมื่อสงครามยุติเศรษฐกิจก็กลับฟื้นคืนมาได้
ลักษณะประชากร
ลักษณะประชากร
ประเทศบรูไนมีประชากร 415,717คน อัตราการเพิ่มของประชากร ร้อยละ 3.5 ต่อปีชนพื้นเมืองในประเทศบรูไน 7 ชนเผ่า ประกอบด้วย เผ่ามลายูบรูไน ดูซุน เบอไลต์ตูตง บีซายา มูรุต และเกอดายัน แต่เพื่อ ความเป็นเอกภาพในด้านการเมืองการปกครองโดยภาพรวมทั้ง 7 ชนเผ่า ใช้ชื่อเรียกว่า มลายูหรือมาเลย์ ศาสนาประจำชาติของบรูไน คือ ศาสนาอิสลาม
เศรษฐกิจ
ข้อมูลเศรษฐกิจ
- เศรษฐกิจโดยรวมของบรูไนเกิดจากอุตสาหกรรม ที่ทำรายได้มาก
- น้ำมันปิโตรเลียม
- ก๊าซธรรมชาติ
- ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอื่นๆ
- โดยการจัดตั้งกระทรวงพลังงานขึ้นใหม่
- สินค้าส่งออก บรูไนจัดอยู่ในประเทศที่ร่ำรวยเป็นผู้ส่งออกนำ้มันติด อันดับ 3 ของโลก สินค้าส่งออก - น้ำมันดิบ
- ปิโตรเลียม
- ก๊าซธรรมชาติเมทิลแอลกอฮอล์
- ด้านการค้ากับไทย
- นำเข้าจากไทย
- ข้าว
- น้ำตาล
- หม้อแปลงไฟฟ้าและ
- ส่วนประกอบ ปูนซีเมนต์
- ผลิตภัณฑ์เซรามิกผลิตภัณฑ์ยางกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ
- สินค้านำเข้าจากบรูไน ได้แก่
- น้ำมันดิบ
- สินค้าเหล็ก
- เหล็กกล้า
- ผลิตภัณฑ์
- เศรษฐกิจโดยรวมของบรูไนเกิดจากอุตสาหกรรม ที่ทำรายได้มาก
- น้ำมันปิโตรเลียม
- ก๊าซธรรมชาติ
- ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอื่นๆ
- โดยการจัดตั้งกระทรวงพลังงานขึ้นใหม่
- สินค้าส่งออก บรูไนจัดอยู่ในประเทศที่ร่ำรวยเป็นผู้ส่งออกนำ้มันติด อันดับ 3 ของโลก สินค้าส่งออก - น้ำมันดิบ
- ปิโตรเลียม
- ก๊าซธรรมชาติเมทิลแอลกอฮอล์
- ด้านการค้ากับไทย
- นำเข้าจากไทย
- ข้าว
- น้ำตาล
- หม้อแปลงไฟฟ้าและ
- ส่วนประกอบ ปูนซีเมนต์
- ผลิตภัณฑ์เซรามิกผลิตภัณฑ์ยางกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ
- สินค้านำเข้าจากบรูไน ได้แก่
- น้ำมันดิบ
- สินค้าเหล็ก
- เหล็กกล้า
- ผลิตภัณฑ์
ข้อมูลการปกครอง
ข้อมูลการเมืองการปกครอง
ประเทศบรูไนในอดีตเป็นเพียงแค่รัฐเล็กๆ ที่มีอิสระในการปกครอง ตนเองแต่เพื่อความอยู่รอด บรูไนต้องยอมอยู่ใต้การอารักขาของอังกฤษ จนสามารถสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ
ปัจจุบันประเทศบรูไนยังคงเป็นประเทศที่มีการปกครองแบบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งเป็นประเทศเดียวในประชาคมอาเซียนที่ ปกครองด้วยระบบสุลต่าน โดยองค์สุลต่าน จะมีอำนาจเด็ด ขาดเพียงผู้เดียว มีฐานะเป็นสมเด็จพระราชาธิบด และเป็นประมุขสูงสุดของประเทศ
การปกครองของประเทศบรูไนเป็นการปกครองในรูปแบบรัฐเดี่ยว แต่เป็นรัฐเดี่ยวแบบรวมศูนย์อำนาจ ในด้านการบริหาร ราชการแผ่นดิน บรูไนไม่มีการกระจายอำนาจทางการเมืองไปยังหน่วย การปกครองในระดับล่าง การบริหารราชการแผ่นดินจึงเป็นการสั่งการ ตามสายบังคับบัญชา หรือเป็นลำดับชั้นจากสุลต ่านและสมเด็จพระ ราชาธิบดีลงมาที่กระทรวง
บรูไนจึงแยกโครงสร้าง การปกครองได้ดังนี้
1. เขตการปกครอง เป็นหน่วยงานการปกครองระดับล่างจากกระทรวงแบ่ง เป็น 4 เขตการปกครอง ประกอบด้วย เขตการปกครองบรูไน-มูอารา เบอไลต์ เต็มบูรงและตูตง
2. เทศบาล อยู่ในระดับชั้นเดียวกับเขตการปกครอง เป็น หน่วยการปกครองท้องถิ่นที่เป็นเมืองหรือชุมชนเมืองการบริหารงานขึ้น ต่อกระทรวงมหาดไทย
3. ตำบล เป็นหน่วยการปกครองระดับล่างต่อจากเขตการปกครอง มีกำนันใน
4. หมู่บ้าน เป็นหน่วยการปกครองระดับล่างสุด
ประเทศบรูไนในอดีตเป็นเพียงแค่รัฐเล็กๆ ที่มีอิสระในการปกครอง ตนเองแต่เพื่อความอยู่รอด บรูไนต้องยอมอยู่ใต้การอารักขาของอังกฤษ จนสามารถสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ
ปัจจุบันประเทศบรูไนยังคงเป็นประเทศที่มีการปกครองแบบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งเป็นประเทศเดียวในประชาคมอาเซียนที่ ปกครองด้วยระบบสุลต่าน โดยองค์สุลต่าน จะมีอำนาจเด็ด ขาดเพียงผู้เดียว มีฐานะเป็นสมเด็จพระราชาธิบด และเป็นประมุขสูงสุดของประเทศ
การปกครองของประเทศบรูไนเป็นการปกครองในรูปแบบรัฐเดี่ยว แต่เป็นรัฐเดี่ยวแบบรวมศูนย์อำนาจ ในด้านการบริหาร ราชการแผ่นดิน บรูไนไม่มีการกระจายอำนาจทางการเมืองไปยังหน่วย การปกครองในระดับล่าง การบริหารราชการแผ่นดินจึงเป็นการสั่งการ ตามสายบังคับบัญชา หรือเป็นลำดับชั้นจากสุลต ่านและสมเด็จพระ ราชาธิบดีลงมาที่กระทรวง
บรูไนจึงแยกโครงสร้าง การปกครองได้ดังนี้
1. เขตการปกครอง เป็นหน่วยงานการปกครองระดับล่างจากกระทรวงแบ่ง เป็น 4 เขตการปกครอง ประกอบด้วย เขตการปกครองบรูไน-มูอารา เบอไลต์ เต็มบูรงและตูตง
2. เทศบาล อยู่ในระดับชั้นเดียวกับเขตการปกครอง เป็น หน่วยการปกครองท้องถิ่นที่เป็นเมืองหรือชุมชนเมืองการบริหารงานขึ้น ต่อกระทรวงมหาดไทย
3. ตำบล เป็นหน่วยการปกครองระดับล่างต่อจากเขตการปกครอง มีกำนันใน
4. หมู่บ้าน เป็นหน่วยการปกครองระดับล่างสุด
สังคมและวัฒนธรรม
ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม
- วัฒนธรรมบรูไนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับมาเลเซียและอินโดนีเซีย มากจึงการแต่งกายที่คล้ายคลึงกัน สุภาพบุรุษ จะแต่งกายด้วยเสื้อแขนยาว ตัวเสื้อยาวถึงเข่า นุ่งกางเกงขายาวแล้วนุ่ง โสร่ง เรียกว่า บาจูมลายู(Baju Melayu) ส่วนชุดของสุภาพสตรีเรียกว่า บาจูกุรุง (Baju Kurung) จะแต่งกายด้วยเสื้อผ้าที่มีสีสันสดใส โดย มากมักจะเป็นเสื้อผ้าที่คลุมร่างกายตั้งแต่ศีรษะจรดเท้าสะท้อน วัฒนธรรมและสังคมแบบอนุรักษ์นิยม
ระบบสาธารณูปโภค
โครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค
- เนื่องจากประเทศบรูไนเป็นประเทศที่ร่ำรวย จึงมีการพัฒนาระบบ การขนส่งที่ดีชาวท้องถิ่นและนักท่องเที่ยวในประเทศบรูไนมีตัวเลือกใน การใช้บริการได้หลายทาง อันได้แก่
- การคมนาคมทางบก ประเทศบรูไนมีทางหลวงสายหลักสายเดียวคือ Muara–Jerudong– Tutong มีความยาวประมาณ 1,712 กิโลเมตร การให้บริการรถเช่าใน ประเทศบรูไนมีราคาที่เหมาะสม รถเช่าเป็นบริการการขนส่งที่ดีที่สุดใน ประเทศบรูไน เนื่องจากมีราคาที่ไม่สูงสะดวกและสามารถใช้บริการได้ ตลอดเวลา
- การคมนาคมทางอากาศ การขนส่งทางอากาศเชิงพาณิชย์ในบรูไนเริ่มขึ้นในปีพ.ศ. 2496 (ค.ศ1953) และสร้างสนามบินใหม่ในเมือง Mukim Berakas และเปิด ใช้งานในปีพ.ศ.2517(ค.ศ.1974) ปัจจุบันประเทศบรูไนมีสายการบิน พาณิชย์คือ สายการบินรอยัลบรูไน ซึ่งเป็นสายการบินแห่งชาติบรูไน ก่อตั้งเมื่อวันที่18 พฤศจิกายน พ.ศ.2517(ค.ศ.1974) โดยบริษัทเอกชน จะเป็นผู้ถือหุ้นเองทั้งหมด สายการบินรอยัลบรูไน มีเที่ยวบินตรงจากการคมนาคมทางอากาศ การขนส่งทางอากาศเชิงพาณิชย์ในบรูไนเริ่มขึ้นในปีพ.ศ. 2496 (ค.ศ1953) และสร้างสนามบินใหม่ในเมือง Mukim Berakas และเปิด ใช้งานในปีพ.ศ.2517(ค.ศ.1974) ปัจจุบันประเทศบรูไนมีสายการบิน พาณิชย์คือ สายการบินรอยัลบรูไน ซึ่งเป็นสายการบินแห่งชาติบรูไน ก่อตั้งเมื่อวันที่18 พฤศจิกายน พ.ศ.2517(ค.ศ.1974) โดยบริษัทเอกชน จะเป็นผู้ถือหุ้นเองทั้งหมด สายการบินรอยัลบรูไน มีเที่ยวบินตรงจาก
- การคมนาคมทางน้ำ ประเทศบรูไนมีท่าเรือที่ขนถ่ายสินค้าอยู่ทั้งหมด6แห่ง โดยแบ่งเป็น ของภาครัฐ 3 แห่ง และภาคเอกชน 3 แห่ง ท่าเรือทั้ง 3 ท่าที่เป็นของ รัฐบาลบรูไน ได้แก่
- ท่าเรือมัวรา ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือห่างจากเมืองหลวง 27 กิโลเมตร เป็นท่าเรือที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ มีความลึก 10 เมตร กว้าง 611 เมตร สามารถนำเรือขนาดใหญ่เข้าเทียบท่าได้
- ท่าเรือบันดาร์เสรีเบกาวัน เป็นท่าเรือเก่าแก่ ตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 รับเฉพาะเรือที่มี ความยาวไม่เกิน 30 เมตร และมีความลึกไม่เกิน 5 เมตร
- ท่าเรือกัวลาบือเลต ตั้งอยู่ที่แม่น้ำบือเลต รับเฉพาะเรือที่มีความยาว 60 เมตร เพราะ ท่าเรือยาว61เมตรโดยมากเรือที่เข้าเทียบท่ามักจะเป็นเรือจากประเทศ เพื่อนบ้าน ส่วนท่าเรือเอกชนของบรูไนอีก3แห่ง ได้แก่ ท่าเรือซีเรีย ท่าเรือลูมูต และท่าเรือตันหยงลีรัง โดยท่าเรือเอกชนสองแห่งแรกมีบริษัทเชลล์บรูไน เป็นผู้ดูแล ใช้ในการขนส่งสินค้าประเภทแก๊สธรรมชาติและน้ำมัน ส่วนท่าเรือตันหยงลีรังเป็นท่าเรือเพื่อใช้ในการส่งออกไม้ซุง
- ระบบไฟฟ้า หน่วยงานที่ดูแลกิจการไฟฟ้าของประเทศบรูไนชื่อว่าแผนกบริการ ไฟฟ้า (Department of Electrical Services-DES) เป็นหน่วยงานที่ อยู ่ภายใต้กระทรวงพลังงาน ดูแลตั้งแต ่ระบบผลิต ระบบส่ง ระบบ จำหน่ายจนถึงลูกค้า ในลักษณะคล้ายกับการไฟฟ้าโดยทั่วไปในอาเซียน ก่อตั้งมาแล้ว 92 ปีเริ่มต้นด้วยการติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซลขนาด 22กิโลวัตต์สำหรับการจ่ายไฟครั้งแรกและกระแสไฟฟ้าบรูไนในปัจจุบัน คือ 240 โวลต์
- ระบบโทรคมนาคม ประเทศบรูไนมีฝ่ายดูแลงานด้านโทรคมนาคม(Telecoms) ที่รับ ผิดชอบทั้งระบบการทำงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในประเทศและระหว่าง ประเทศ ระบบโทรคมนาคมในที่นี้รวมถึงโทรศัพท์บ้าน โทรศัพท์ระหว่าง ประเทศ โทรสาร เทเล็กซ์ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่เซลลูลาร์ เพจเจอร์ โทรเลข และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โทรศัพท์บ้านทั้งหมดในประเทศ บรูไนใช้ระบบโทรศัพท์แบบดิจิตอล
สาธารณสุข
ระบบสาธารณสุข
ประเทศบรูไนนับว่าเป็นประเทศหนึ่งในเอเชียที่ให้ความสำคัญกับ สวัสดิการด้านสุขภาพแก่
ประชาชน ชาวบรูไนสามารถเข้ารับการรักษา พยาบาลของรัฐได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย นอกจากนั้นยังมี
การจัดการการ แพทย์เคลื่อนที่ เพื่อรักษาพยาบาลประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกลความ เจริญทุรกันดาร ที่สำคัญอีกอย่างคือในกองทัพบรูไนมีศูนย์พยาบาลเป็น หน่วยงานหนึ่งในกองทัพ และหากผู้ป่วยอยู่ในถิ่นทุรกันดารก็มีหน่วย แพทย์อากาศ การที่รัฐบาลบรูไนเอาใจใส่ดูแล สุขภาพของประชาชนอย่างดียิ่ง
กระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้กำหนดนโยบายด้านการสาธารณสุขของ
ประเทศบรูไน เพื่อที่จะบริการให้ทั่วถึงแก่ประชาชนทุกหมู่เหล่า ไม่แบ่ง
ชาติภาษา ศาสนา จึงมีนโยบาย “สุขภาพดีเพื่อทุกคน” (Health for
All) โดยเน้นระบบการพัฒนาการตรวจรักษาสุขภาพให้เป็นไปตามความ
ต้องการของประชาชนตามไปด้วย
ประเทศบรูไนนับว่าเป็นประเทศหนึ่งในเอเชียที่ให้ความสำคัญกับ สวัสดิการด้านสุขภาพแก่
ประชาชน ชาวบรูไนสามารถเข้ารับการรักษา พยาบาลของรัฐได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย นอกจากนั้นยังมี
การจัดการการ แพทย์เคลื่อนที่ เพื่อรักษาพยาบาลประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกลความ เจริญทุรกันดาร ที่สำคัญอีกอย่างคือในกองทัพบรูไนมีศูนย์พยาบาลเป็น หน่วยงานหนึ่งในกองทัพ และหากผู้ป่วยอยู่ในถิ่นทุรกันดารก็มีหน่วย แพทย์อากาศ การที่รัฐบาลบรูไนเอาใจใส่ดูแล สุขภาพของประชาชนอย่างดียิ่ง
ระบบการศึกษา
ระบบการศึกษา
ระบบการศึกษาของประเทศบรูไน ดารุสซาลามไม่มีการศึกษา ภาคบังคับ แต่การศึกษาเป็นสากลและจัดให้ฟรีสำหรับประชาชนทั่วไป การศึกษาแบ่งออกเป็นระดับก่อนประถมศึกษา 1 ปีระดับประถมศึกษา 6 ปีระดับมัธยมศึกษา 7-8 ปีซึ่งแบ่งเป็นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 2-3 ปีหรือในสายอาชีวะ อีก 2 ป และ ระดับเตรียมอุดมศึกษา 2 ปีและระดับมหาวิทยาลัย 3-4 ปีดังนี้
• ระดับก่อนประถมศึกษา เด็กทุกคนต้องเข้าศึกษาในระดับก่อนประถมศึกษา 1 ปีเมื่ออายุ5 ปี หลังจากนั้นจึงเข้าศึกษาในระดับประถมศึกษา
• ระดับประถมศึกษา การศึกษาระดับประถมศึกษาแบ่งออกเป็นสองระดับ คือ ระดับ ประถมต้น 3 ปีและประถมปลาย 2-3 ปีหลังจากจบการศึกษาระดับ ประถมศึกษา 6 ปี นักเรียนจะต้องเข้ารับการทดสอบข้อสอบกลาง (PCE: Primary CertificateofExamination) ซึ่งการศึกษาในระดับนี้มี จุดประสงค์เพื่อปูพื้นฐานด้านการเขียน การอ่าน และการคำนวณให้แก่ นักเรียน เพื่อจะได้นำความรู้เหล่านี้ไปใช้ในการพัฒนาตนเอง
• ระดับมัธยมศึกษา
การศึกษาระดับมัธยมศึกษารวมใช้เวลา 7-8 ปี(มัธยมศึกษา 1-5และ
เตรียมอุดมศึกษา 2 ปี)
○ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมีระยะเวลา 3 ปีหลังมัธยมศึกษาตอนต้น แล้ว นักเรียนต้องทดสอบ BJCE (Brunei Junior Certificate of Education) จึงจะสามารถเรียนต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเลือก เรียนวิชาด้านช่างและเทคนิคพื้นฐานที่สถาบันการศึกษาทางเทคนิคและ อาชีวศึกษา
○ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ระยะเวลา 2-3 ปีนักเรียนจะเลือกเรียนสายศิลป์สายวิทย์หรือสาย อาชีพ ตามแต่ผลการสอบ BJCE หลักจากเรียนจบระดับมัธยมศึกษาตอน ปลายแล้ว (ระดับ 5) นักเรียนต้องสอบข้อสอบ Brunei-Cambridge General Certificateof Education:BCGCE“O” Level หรือสำเร็จ การศึกษาระดับ 6 นักเรียนต้องสอบข้อสอบ Brunei-Cambridge General CertificateofEducation:BCGCE“A”Levelแล้วจึงจะมีสิทธิ์ เรียนต่อระดับเตรียมอุดมศึกษา มีระยะเวลา 2 ปี
○ ระดับอาชีวะ รับเด็กนักเรียนมัธยมต้นที่สนใจด้านการศึกษาและการฝึกหัดด้าน อาชีวะและเทคนิค โดยมีกรมการศึกษาด้านเทคนิค (Department of TechnicalEducation-DTE) เป็นผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการศึกษาด้าน เทคนิคและอาชีวศึกษาและการฝึกอบรม(Technicaland Vocational Education and Training) และโปรแกรมเกี่ยวกับการศึกษาต่อ (Continuing Education-CE)
○ ระดับปริญญาตรี การศึกษาในระดับปริญญาตรีจะจัดให้แก่นักเรียนที่มีผลการศึกษา ดีมีศักยภาพในการศึกษาต่อได้หรือศึกษาในสาขาที่เป็นความต้องการ ของประเทศ ซึ่งมีทั้งมหาวิทยาลัย สถาบันอาชีวะ เทคนิคต่างๆ และ วิทยาลัยต่างๆ
• นโยบายและจุดเน้นด้านการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการบรูไน ดารุสซาลาม ได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2550-2555 และการจัดทำวิสัยทัศน์ด้านการศึกษาของบรูไน ดารุสซาลาม พ.ศ. 2578 โดยได้ให้ความสำคัญต่อการสร้างสังคมบนพื้น ฐานแห่งทักษะ และความรอบรู้ภายใต้ระบบการศึกษา “World Class EducationSystem” ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยให้การศึกษา เป็นหนึ่งใน 8ยุทธศาสตร์ที่สำคัญของประเทศ พร้อมทั้งได้ใช้เงินกองทุน พัฒนาในการลงทุนการศึกษาในอัตราร้อยละ 8.7 รวมทั้งการพัฒนา โครงสร้างด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)
ระบบการศึกษาของประเทศบรูไน ดารุสซาลามไม่มีการศึกษา ภาคบังคับ แต่การศึกษาเป็นสากลและจัดให้ฟรีสำหรับประชาชนทั่วไป การศึกษาแบ่งออกเป็นระดับก่อนประถมศึกษา 1 ปีระดับประถมศึกษา 6 ปีระดับมัธยมศึกษา 7-8 ปีซึ่งแบ่งเป็นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 2-3 ปีหรือในสายอาชีวะ อีก 2 ป และ ระดับเตรียมอุดมศึกษา 2 ปีและระดับมหาวิทยาลัย 3-4 ปีดังนี้
• ระดับก่อนประถมศึกษา เด็กทุกคนต้องเข้าศึกษาในระดับก่อนประถมศึกษา 1 ปีเมื่ออายุ5 ปี หลังจากนั้นจึงเข้าศึกษาในระดับประถมศึกษา
• ระดับประถมศึกษา การศึกษาระดับประถมศึกษาแบ่งออกเป็นสองระดับ คือ ระดับ ประถมต้น 3 ปีและประถมปลาย 2-3 ปีหลังจากจบการศึกษาระดับ ประถมศึกษา 6 ปี นักเรียนจะต้องเข้ารับการทดสอบข้อสอบกลาง (PCE: Primary CertificateofExamination) ซึ่งการศึกษาในระดับนี้มี จุดประสงค์เพื่อปูพื้นฐานด้านการเขียน การอ่าน และการคำนวณให้แก่ นักเรียน เพื่อจะได้นำความรู้เหล่านี้ไปใช้ในการพัฒนาตนเอง
○ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมีระยะเวลา 3 ปีหลังมัธยมศึกษาตอนต้น แล้ว นักเรียนต้องทดสอบ BJCE (Brunei Junior Certificate of Education) จึงจะสามารถเรียนต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเลือก เรียนวิชาด้านช่างและเทคนิคพื้นฐานที่สถาบันการศึกษาทางเทคนิคและ อาชีวศึกษา
○ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ระยะเวลา 2-3 ปีนักเรียนจะเลือกเรียนสายศิลป์สายวิทย์หรือสาย อาชีพ ตามแต่ผลการสอบ BJCE หลักจากเรียนจบระดับมัธยมศึกษาตอน ปลายแล้ว (ระดับ 5) นักเรียนต้องสอบข้อสอบ Brunei-Cambridge General Certificateof Education:BCGCE“O” Level หรือสำเร็จ การศึกษาระดับ 6 นักเรียนต้องสอบข้อสอบ Brunei-Cambridge General CertificateofEducation:BCGCE“A”Levelแล้วจึงจะมีสิทธิ์ เรียนต่อระดับเตรียมอุดมศึกษา มีระยะเวลา 2 ปี
○ ระดับอาชีวะ รับเด็กนักเรียนมัธยมต้นที่สนใจด้านการศึกษาและการฝึกหัดด้าน อาชีวะและเทคนิค โดยมีกรมการศึกษาด้านเทคนิค (Department of TechnicalEducation-DTE) เป็นผู้รับผิดชอบดูแลการจัดการศึกษาด้าน เทคนิคและอาชีวศึกษาและการฝึกอบรม(Technicaland Vocational Education and Training) และโปรแกรมเกี่ยวกับการศึกษาต่อ (Continuing Education-CE)
○ ระดับปริญญาตรี การศึกษาในระดับปริญญาตรีจะจัดให้แก่นักเรียนที่มีผลการศึกษา ดีมีศักยภาพในการศึกษาต่อได้หรือศึกษาในสาขาที่เป็นความต้องการ ของประเทศ ซึ่งมีทั้งมหาวิทยาลัย สถาบันอาชีวะ เทคนิคต่างๆ และ วิทยาลัยต่างๆ
• นโยบายและจุดเน้นด้านการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการบรูไน ดารุสซาลาม ได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2550-2555 และการจัดทำวิสัยทัศน์ด้านการศึกษาของบรูไน ดารุสซาลาม พ.ศ. 2578 โดยได้ให้ความสำคัญต่อการสร้างสังคมบนพื้น ฐานแห่งทักษะ และความรอบรู้ภายใต้ระบบการศึกษา “World Class EducationSystem” ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยให้การศึกษา เป็นหนึ่งใน 8ยุทธศาสตร์ที่สำคัญของประเทศ พร้อมทั้งได้ใช้เงินกองทุน พัฒนาในการลงทุนการศึกษาในอัตราร้อยละ 8.7 รวมทั้งการพัฒนา โครงสร้างด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)
ระบบกฎหมาย
ระบบกฎหมายของประเทศบรูไนมีรากฐานมาจากระบบกฎหมาย
จารีตประเพณีของประเทศอังกฤษ (English Common Laws) ระบบ
การศาลของอังกฤษเป็นระบบอิสระมีอำนาจในการตัดสินคดีอย่างเต็มที่
แม้ว่าประเทศบรูไนได้รับเอกราชจากอังกฤษแล้วก็ตาม บรูไนยังคงใช้
ระบบกฎหมายของอังกฤษอยู่ แต่สำหรับชาวมุสลิมมีหลายกรณีที่ใช้
กฎหมายอิสลามแทน และไม่ยอมรับเขตอำนาจโดยบังคับของศาลยุติธรรมระหว่าง
ประเทศ (ICJ)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมมีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับระบบกฎหมาย ในขณะที่ประธานที่ปรึกษากฎหมายรัฐธรมนูญ และกฎหมายอื่นๆ ดำรงตำแหน่งประธานศาลสูงสุด
อำนาจในการตัดสินคดี อยู่ที่ศาลสูงสุด คือ ศาลฎีกา ศาลชั้นกลางหรือศาลอุทธรณ์และศาลชั้น ต้นดังนี้ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม
- ศาลชั้นต้น (Subordinate Court)ซึ่งประกอบด้วย
- ศาลแขวง (Magistrate Courts)
- ควบคุมโดยพระราชบัญญัติศาลชั้นต้น (Subordinate Courts Acts)
- พิจารณาทั้งคดีแพ่งและคดีอาญา
- ศาลเยาวชน (Juvenile Courts)
- พิจารณาคดีใน 3 ประเภทใหญ่ๆ
- การกระทําความผิดอาญา โดย เยาวชนอายุไม่ถึง 18 ปีเยาวชนซึ่ง
- ไม่อยู่ในการดูแลของผู้ปกครอง
- เยาวชนที่ต้องการการดูแลและคุ้มครองเป็นพิเศษ
- ศาลชั้นกลาง (Intermediate Court)
- พิจารณาทั้งคดีแพ่งและ คดีอาญา
- คดีอาญาจะรับพิจารณาคดีอาญาที่ระวางโทษไม่เกิน 20 ปี
- ศาลชั้นกลางไม่มีอํานาจพิจารณาคดีที่มีโทษประหารชีวิต สําหรับคดี แพ่ง
- พิจารณาคดีที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิน 300,000 ดอลล่าร์บูรไน
- คดีที่มีการร้องเรียกเงินในจำนวนเงินมากกว่า 15,000 ดอลลาร์บรูไน
- ไม่เกิน 60,000 ดอลลาร์บรูไน
- ผู้พิพากษายังทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลจัดการ การเข้าสมัครเป็นทนายความ (Advocate)
- ทนายให้คำปรึกษา (Solicitor)
- คําตัดสินที่ออกโดยศาลสามารถอุทธรณ์ไปยังศาลอุทธรณ์ได้
- ศาลฎีกา (Supreme Court)
- รับพิจารณาคดีทั้งคดีแพ่งและคดีอาญา
- ไม่จำกัดขอบเขตอำนาจศาล
- ศาลสูง (High Court)
- ไม่มีบทลงโทษประหารชีวิต หรือจำคุกเกินกว่า 20 ปี
-ศาลอุทธรณ์ (Court of Appeal)
- เป็นศาลสูงสุดหรือศาลสุดท้ายของการตัดสินคดีทางอาญา
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมมีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับระบบกฎหมาย ในขณะที่ประธานที่ปรึกษากฎหมายรัฐธรมนูญ และกฎหมายอื่นๆ ดำรงตำแหน่งประธานศาลสูงสุด
อำนาจในการตัดสินคดี อยู่ที่ศาลสูงสุด คือ ศาลฎีกา ศาลชั้นกลางหรือศาลอุทธรณ์และศาลชั้น ต้นดังนี้ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม
- ศาลชั้นต้น (Subordinate Court)ซึ่งประกอบด้วย
- ศาลแขวง (Magistrate Courts)
- ควบคุมโดยพระราชบัญญัติศาลชั้นต้น (Subordinate Courts Acts)
- พิจารณาทั้งคดีแพ่งและคดีอาญา
- ศาลเยาวชน (Juvenile Courts)
- พิจารณาคดีใน 3 ประเภทใหญ่ๆ
- การกระทําความผิดอาญา โดย เยาวชนอายุไม่ถึง 18 ปีเยาวชนซึ่ง
- ไม่อยู่ในการดูแลของผู้ปกครอง
- เยาวชนที่ต้องการการดูแลและคุ้มครองเป็นพิเศษ
- ศาลชั้นกลาง (Intermediate Court)
- พิจารณาทั้งคดีแพ่งและ คดีอาญา
- คดีอาญาจะรับพิจารณาคดีอาญาที่ระวางโทษไม่เกิน 20 ปี
- ศาลชั้นกลางไม่มีอํานาจพิจารณาคดีที่มีโทษประหารชีวิต สําหรับคดี แพ่ง
- พิจารณาคดีที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิน 300,000 ดอลล่าร์บูรไน
- คดีที่มีการร้องเรียกเงินในจำนวนเงินมากกว่า 15,000 ดอลลาร์บรูไน
- ไม่เกิน 60,000 ดอลลาร์บรูไน
- ผู้พิพากษายังทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลจัดการ การเข้าสมัครเป็นทนายความ (Advocate)
- ทนายให้คำปรึกษา (Solicitor)
- คําตัดสินที่ออกโดยศาลสามารถอุทธรณ์ไปยังศาลอุทธรณ์ได้
- ศาลฎีกา (Supreme Court)
- รับพิจารณาคดีทั้งคดีแพ่งและคดีอาญา
- ไม่จำกัดขอบเขตอำนาจศาล
- ศาลสูง (High Court)
- ไม่มีบทลงโทษประหารชีวิต หรือจำคุกเกินกว่า 20 ปี
-ศาลอุทธรณ์ (Court of Appeal)
- เป็นศาลสูงสุดหรือศาลสุดท้ายของการตัดสินคดีทางอาญา
ความสัมพันธ์ไทยกับบรูไน
ไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับบรูไนเมื่อวันที่ 1 มกราคม
พ.ศ.2527(ค.ศ.1984) ซึ่งทั้งสองประเทศมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมาโดยตลอด โดยเฉพาะในระดับราชวงศ์มีการแลกเปลี่ยนการเยือนในระดับราชวงศ์ผู้นำระดับสูง
ของรัฐบาล และผู้นำระดับสูงของกองทัพอยู่เสมอ
ทั้งสองประเทศยังมี ทัศนคติที่ดีต่อกัน ไม่เคยมีความบาดหมางทางประวัติศาสตร์และเป็น พันธมิตรในเรื่องต่างๆ มีการหารือเกี่ยวกับการส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่าง ทั้งสองประเทศในด้านต่างๆ
- การทหาร
- การค้า
- การลงทุน
- การประมง
- แรงงาน
- การท่องเที่ยว
- วัฒนธรรม
โดยไทยประสบความสำเร็จในการโน้มน้าวให้บรูไนให้ความสำคัญกับการลงทุนในอุตสาหกรรม อาหารฮาลาล และร่วมมือกันจัดตั้งธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยขึ้น เมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2546 มีการจัดตั้งกองทุนร่วม (Matching Fund) “กองทุนไทยทวีทุน” ระหว่าง Brunei Investment Agency กับกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ มีบริษัทไทยที่ลงทุนในบรูไน คือ บริษัท Brunei Construction ซึ่ง เป็นบริษัทรับเหมาก่อสร้างที่ถือหุ้นระหว่างชาวไทยกับชาวบรูไนตาม กฎหมายบรูไนที่กำหนดการทำกิจการต่างๆ จะต้องมีชาวบรูไนเป็นหุ้น ส่วนอยู่ด้วยสำหรับธุรกิจไทยในบรูไน ส่วนใหญ่จะเป็นร้านขายของร้าน อาหาร ร้านตัดเสื้อ และอู่ซ่อมรถ ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม
ปัจจุบันมีแรงงานไทยในบรูไนมีประมาณ 8,000 คน (พ.ศ. 2550) โดยส่วนใหญ่เป็นแรงงานไร้ฝีมือ ทำงานในกิจการก่อสร้างอุตสาหกรรม ตัดเย็บเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพื่อการส่งออก นอกนั้นทำงานในภาคธุรกิจ บริการ เช่น ห้างสรรพสินค้า ร้านอาหาร การตกแต่งดูแลสวน ช่างซ่อม และงานในภาคเกษตรกรรมแรงงานไทยส่วนใหญ่ได้รับการยอมรับอย่าง ดีจากนักธุรกิจในบรูไน เพราะมีความซื่อสัตย์อดทน ขยัน หมั่นเพียร และมีความรับผิดชอบ แม้จะด้อยในเรื่องภาษา อย่างไรก็ดียังมีปัญหาอยู่ บ้าง โดยส่วนใหญ่เป็นเรื่องความขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างอาทิ อัตราค่าจ้างที่ไม่สอดคล้องกับความสามารถในการทำงาน และการขาด ความรู้และความเข้าใจต่อกฎระเบียบข้อบังคับของสัญญาจ้าง
ทั้งสองประเทศยังมี ทัศนคติที่ดีต่อกัน ไม่เคยมีความบาดหมางทางประวัติศาสตร์และเป็น พันธมิตรในเรื่องต่างๆ มีการหารือเกี่ยวกับการส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่าง ทั้งสองประเทศในด้านต่างๆ
- การทหาร
- การค้า
- การลงทุน
- การประมง
- แรงงาน
- การท่องเที่ยว
- วัฒนธรรม
โดยไทยประสบความสำเร็จในการโน้มน้าวให้บรูไนให้ความสำคัญกับการลงทุนในอุตสาหกรรม อาหารฮาลาล และร่วมมือกันจัดตั้งธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยขึ้น เมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2546 มีการจัดตั้งกองทุนร่วม (Matching Fund) “กองทุนไทยทวีทุน” ระหว่าง Brunei Investment Agency กับกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ มีบริษัทไทยที่ลงทุนในบรูไน คือ บริษัท Brunei Construction ซึ่ง เป็นบริษัทรับเหมาก่อสร้างที่ถือหุ้นระหว่างชาวไทยกับชาวบรูไนตาม กฎหมายบรูไนที่กำหนดการทำกิจการต่างๆ จะต้องมีชาวบรูไนเป็นหุ้น ส่วนอยู่ด้วยสำหรับธุรกิจไทยในบรูไน ส่วนใหญ่จะเป็นร้านขายของร้าน อาหาร ร้านตัดเสื้อ และอู่ซ่อมรถ ระบบบริหารราชการของเนการา บรูไน ดารุสซาลาม
ปัจจุบันมีแรงงานไทยในบรูไนมีประมาณ 8,000 คน (พ.ศ. 2550) โดยส่วนใหญ่เป็นแรงงานไร้ฝีมือ ทำงานในกิจการก่อสร้างอุตสาหกรรม ตัดเย็บเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพื่อการส่งออก นอกนั้นทำงานในภาคธุรกิจ บริการ เช่น ห้างสรรพสินค้า ร้านอาหาร การตกแต่งดูแลสวน ช่างซ่อม และงานในภาคเกษตรกรรมแรงงานไทยส่วนใหญ่ได้รับการยอมรับอย่าง ดีจากนักธุรกิจในบรูไน เพราะมีความซื่อสัตย์อดทน ขยัน หมั่นเพียร และมีความรับผิดชอบ แม้จะด้อยในเรื่องภาษา อย่างไรก็ดียังมีปัญหาอยู่ บ้าง โดยส่วนใหญ่เป็นเรื่องความขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างอาทิ อัตราค่าจ้างที่ไม่สอดคล้องกับความสามารถในการทำงาน และการขาด ความรู้และความเข้าใจต่อกฎระเบียบข้อบังคับของสัญญาจ้าง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)